สถาปัตยกรรมของ IMS
สถาปัตยกรรมของ IMS เราจะสามารถแบ่งได้เป็น 2 กลุ่มหลักๆ
สำหรับระบบ IMS เราสามารถที่จะแบ่งเป็น 2 กลุ่มหลักๆ ก็คือ ส่วนที่เป็น Access Network ซึ่งได้แก่ เครือข่ายที่ยูสเซอร์ใช้งานอยู่ เช่น เครือข่ายที่มีสายโทรศัพท์บ้าน ที่มีการใช้งานอินเตอร์เน็ตผ่าน ADSC เครือข่านไร้สายต่างๆ เช่น เครือข่ายไวไฟ และเครือข่ายเคลื่อนที่ในปัจจุบัน อย่างระบบ GSM และระบบ CDMA
ส่วนอีกกลุ่มที่เป็นสถาปัตยกรรมใน IMS ก็คือส่วน Core ของ IMS ซึ่งเป็นส่วนหลักของ IMS และทำหน้าที่ร่วมกันเป็นเครือข่ายหลักในการให้บริการ IP Multimedia ต่างๆ แต่เครือข่ายที่ยูสเซอร์ใช้งานส่วนนี้เราสามารถแบ่งออกเป็นส่วนย่อยๆ ดังนี้
1. CSCF (Call / Session Control Function)
2. User Database
3. MRF (Media Resource Function)
4. BGCF (Breakout Gateway Control Function)
5. ชุด Media Gateway
6. ส่วน Application Server
หน้าที่ของส่วนย่อยต่างๆ
1. CSCF (Call / Session Control Function)
เป็นส่วนที่ทำหน้าที่ควบคุม Session การติดต่อสื่อสารใน IMS โดยจะใช้โปรโตคอล SIP เป็นหลัก
2. User Database
ประกอบด้วย HSS (Home Subseriber Server) และ SLF (Subseriber Location Function) โดย Hss โดยจะเก็บโปรไฟล์ของยูสเซอร์
3. MRF (Media Resource Function)
เป็นอุปกรณ์ที่ใช้ในเครือข่ายเท่านั้น
4. BGCF (Breakout Gateway Control Function)
เป็นส่วนเชื่อมโยงยุคเก่าที่เป็นโทรศัพท์พื้นฐาน หรือโครงข่ายที่ไม่มี IMS
5. Media Gateway
ทำหน้าที่เป็น Gateway ในการติดต่อ
6. Application Server เป็นส่วนแยกจากส่วน Access โดยมี IMS เป็นตัวแยก
วันพุธที่ 3 มีนาคม พ.ศ. 2553
สมัครสมาชิก:
ส่งความคิดเห็น (Atom)
ไม่มีความคิดเห็น:
แสดงความคิดเห็น